วันจันทร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

Madame Tussaud











Anna Maria Tussaud (née Grosholtz; 1 December 1761 – 16 April 1850) was a Swiss artist known for her wax sculptures and Madame Tussaud's, the wax museum she founded in London






Biography






She was born in Strasbourg; her father, a soldier named Joseph Grosholtz, was killed in the Seven Years' War just two months before Marie was born. Her mother, Anne-Marie Walder,[1] took her to Bern where she moved to work as a housekeeper for Dr. Philippe Curtius (1741–1794). There she took the Swiss nationality. Curtius was a physician, and was skilled in wax modelling, which he used to illustrate anatomy. Later, he started to do portraits. Tussaud called him uncle.






Curtius moved to Paris in 1765, starting work to set up a cabinet de cire (wax exhibition).[1] In that year he made a waxwork of Louis XV's last mistress, Madame du Barry, a cast of which is the oldest work currently on display. In 1767, Tussaud and her mother joined Curtius and also moved to Paris. The first exhibition of Curtius' waxworks was shown in 1770, and attracted a big crowd. In 1776, the exhibition moved to the Palais Royal and, in 1782, Curtius opened a second exhibit, the Caverne des Grands Voleurs, a precursor to the later chamber of horrors, on Boulevard du Temple.



Curtius taught Tussaud the art of wax modelling; she showed a lot of talent and started to work for him. In 1778, she created her first wax figure, that of Jean-Jacques Rousseau. She later modelled other famous personages, such as Voltaire and Benjamin Franklin.



From 1780 to the Revolution in 1789, she claimed in later years to have been employed to teach votive making to Élisabeth the sister of Louis XVI. In her memoirs she claimed that in this capacity she was frequently privy to private conversations between the princess and her brother and members of his court, and that members of the royal family were so pleased with her work that, on their invitation, she lived at Versailles






French Revolution






In Paris, Tussaud became involved in the French Revolution and met many of its important figures, including Napoleon Bonaparte and Robespierre.



On 12 July 1789, wax heads of Jacques Necker and the duc d'Orléans made by Curtius were carried in a protest march two days before the attack on the Bastille.



Tussaud was arrested during the Reign of Terror together with Joséphine de Beauharnais; her head was shaved in preparation for execution by guillotine. But thanks to Collot d'Herbois's support for Curtius and his household, she was released.[1] Tussaud was employed to make death masks of the victims of the guillotine. When the mob stormed the Bastille, Madame Tussaud was forced to make death masks of the revolution's most infamous dead such as Louis XVI, Marie Antoinette, Marat, and Robespierre. Her death masks were held up as revolutionary flags and paraded through the streets of Paris. Soon, Madame Tussaud was searching through sanitaries collecting the most illustrious heads she could find.



When Curtius died in 1794, he left his collection of wax works to Marie. In 1795, she married François Tussaud. They had two children, Joseph and François.






England



In 1802, Marie went to London together with Joseph, then four years old, her other son staying behind. As a result of the Napoleonic Wars, she was unable to return to France, so she traveled with her collection throughout Great Britain and Ireland. In 1821 or 1822, her other son, François, joined her. In 1835, she established her first permanent exhibition in Baker Street, on the "Baker Street Bazaar". In 1838, she wrote her memoirs. In 1842, she made a self-portrait which is now on display at the entrance of her museum. Some of the sculptures done by Tussaud herself still exist.



She died in her sleep in London on 16 April 1850. She was 88 years old. There is a memorial tablet to Madame Marie Tussaud on the right side of the nave of St. Mary's Roman Catholic Church, Cadogan Street, London.






ประเทศฝรั่งเศส / ภาษาฝรั่งเศส

Epic Meal Time(ทำไปได้)

กระต่ายไม่มีหู(แล้วจะได้ยินหรอ??)






กระต่ายไม่มีหู ฮือฮา พบกระต่ายไม่มีหู ใกล้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะกระต่ายไม่มีหู ฮือฮา พบกระต่ายไม่มีหู ใกล้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ กระต่ายไม่มีหู ที่ญี่ปุ่นหรือจะเป็นผลกระทบจาก โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ระเบิด แปลก คลิปกระต่ายไม่มีหู สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานว่าพบ กระต่ายไร้หู ที่ประเทศญี่ปุ่นใกล้กับ พื้นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ โดยชาวบ้านระแวกนั้นกล่าวว่า กระตายไม่มีหู อาจจะได้รับผลกระทบมาจากการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสี โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ระเบิด ที่ฟุกุชิมะ ก็อาจเป็นได้

กระต่ายยักษ์

กระต่ายยักษ์ ยักษ์สมชื่อจริงๆเลย ^^



วันอาทิตย์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ประวัติ MK Restaurant




อาหารสุกี้ ที่เป็นที่นิยมกันอย่างมากในหมู่คนไทยและชาว ต่างประเทศ ที่มาเที่ยวเมืองไทยจนเกือบจะเรียกได้ว่าเป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่ง ของประเทศไทยไปแล้วนั้น มีประวัติยาวนาน หลายสิบปีมาแล้วกว่าที่ จะพัฒนามาเป็น สุกี้แบบที่ปัจจุบันนิยมทานกันอยู่




ราว ๆ 40 กว่าปีมาแล้ว (ราว ๆ พ.ศ. 2498) มีภัตตาคารจีน ชื่อ กวนอา อยู่แถว ๆ บางรัก มีรายการอาหารชุดหม้อไฟ เตาถ่าน หม้ออะลูมิเนียม ส่วนของสด ที่เสิร์ฟจะอยู่ในจานเปล ขนาดใหญ่ ก็จะมีเนื้อวัว ตับหมู วุ้นเส้น ผักต่าง ๆ ตอกไข่ใส่ ผสมรวมกันมา ดูน่าทาน น้ำจิ้มจะเป็น สไตล์เต้าฮู่ยี้ แต่รสจัด เวลาไปทานจะไปกันเป็นครอบครัว ไม่ต้องนั่งห้องแอร์สมัยนั้นคนที่ทานสุกี้แบบนี้เป็นมีไม่มากนัก ต้องเป็นขาประจำจริงๆ จึงจะทานเป็น








หลังจากยุคแรกนี้แล้ว ราว ๆ สัก 12 ปี ภัตตาคารจีนชื่อ โคคา อยู่แถว ๆ สยามสแควร์ ก็เริ่ม นำเสนออาหาร ชุดสุกี้โดย ดัดแปลง เอาเตาแก๊ส หม้อเสตนเลส มาใช้งานส่วนของสดนั้น ก็จัดออกมา เป็นชนิด ๆ แยกกันสามารถสั่ง ตามความชอบได้ โดยเพิ่มรายการพวกลูกชิ้นต่างๆ เนื้อ ปลา เนื้อกุ้ง ปลาหมึก ฯลฯ ใส่ในจานเปลขนาดเล็ก ซ้อนไปซ้อนมา ดูน่าสนุก ส่วนน้ำจิ้มได้เปลี่ยนเป็นสูตรใหม่ ซึ่งใช้ซ้อสพริก และน้ำมันหอยเป็นหลัก ร้านสุกี้ที่เกิด ใกล้ ๆ ยุคนี้มีมากมาย หลายยี้ห้อ เช่น แคนตั้น, หลาย - หลาย, เท็กซัส, ไซน่าทาวน์, โคคา ยี่ห้อเลียนแบบทั้งหลายแหล่ แต่ที่นับว่า ขึ้นชื่อลือชา ก็อยู่ในกลุ่มที่อยู่บริเวณ สยามแสควร์นั่นเอง พร้อมๆ กันสุกี้ ในยุคแรกก็ค่อย ๆ เสื่อมความนิยมไป แต่สุกี้ในยุค เตาแก๊สนี้ก็ได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ สุกี้หลายรายเริ่มมีการขยายสาขาเป็นเครือข่าย 2 - 3 สาขา








ยุคแรกของ MK Restaurant








เริ่มแรกของMK นั้นเกิดที่สยามสแควร์เป็นร้านอาหารไทย คูหาเดียว ดำเนินกิจการโดยคุณป้าทองคำ เมฆโตโดยซื้อ กิจการมาจากคุณ MAKONG KING YEE(ชื่อย่อเป็น MK ) ซึ่งได้ย้ายครอบครัวไปอยู่ BOSTON ที่สหรัฐอเมริกาเมื่อปี 2505คุณป้าทำกิจการมาจนได้ดิบได้ดีอีกทั้งลูกค้าที่มาอุดหนุนทาน ก็ได้ดิบได้ดีไปเช่นกันจนเป็นที่รู้จักในวงการ บันเทิงมากมาย นั่นก็เป็นเพราะความ"ใจดี"ของคุณป้า นั่นเองทาน แล้วไม่มีเงินจ่าย ก็ติดไว้ก่อน ป้าก็ไม่ทวง ทั้งลูกค้าทั้งเจ้าของร้าน ๆ สนิทสนมกัน เหมือนญาติ เรียกกันพี่ป้าน้า หลานตลอด อาหารขึ้นชื่อสมัยนั้นมี หลายอย่างอาทิ ข้าวมันไก่ เนื้อตุ๋น แป๊ะซะปลาช่อน ผัดไทย ผัดขี้เมา เนื้อย่างเกาหลี (เตาถ่านจริง ๆ ) ยำแซบ ๆ ทุกชนิด อีกทั้งมีเค้กแสนอร่อยขายตอนปีใหม่อีกด้วย








กิจการค้าเริ่มก้าวหน้า ไปเป็นลำดับ จาก 1 คูหา ขยายเป็น 2 คูหา จวบจนล่วงเข้าปี 2527 ห้างสรรพสินค้าต่างๆ เริ่ม ผุดขึ้นหลาย ๆ แห่ง คุณป้าได้รับการชักชวนให้ไป เปิดร้านในเซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว ของนายห้างสัมฤทธิ์ จิราธิวัฒน์ และให้ชื่อร้านใหม่ว่า ร้านกรีน เอ็ม เค ซึ่งก็ยังคงเป็นร้านอาหารไทยอยู่เช่นเดิมและมี ลูกค้ากลุ่มครอบครัว และออฟฟิตเข้ามาอุดหนุนกัน อย่างคับคั่ง




ยุคที่สองของ MK Restaurant








ใน 2 ปีถัดมาก็คุณ สัมฤทธิ์ ได้ชักชวน ให้มาเปิดร้านสุกี้MKสาขาแรก ใน ห้างเซ็นทรัล ลาดพร้าวนั่นเอง ซึ่งขณะนี้ลูกชายลูกสาว และลูกเขยของ คุณป้าทองคำ ก็ได้ มาช่วยบริหารงานตาม วิธีการแผนใหม่ และทำการขยายสาขาขึ้น อย่างต่อเนื่อง 14 ปีหลังจากนั้นก็สามารถขยายสาขาไปทั่วกรุงเทพและต่างจังหวัด ได้รวมๆกัน 153 สาขาโดยใช้ หลักการบริการที่ นำความพอใจมาสู่ลูกค้าเป็นแกนนำ การฝึกอบรมพนักงาน อย่างจริงจัง และถนอมน้ำใจ ของลูกน้องทุก ๆ คน เหมือนเป็นครอบครัวใหญ่ครอบครัวหนึ่ง การตั้งหน้าตั้งตาปรับปรุง ระบบงาน อยู่ตลอดเวลา (CONTINUOUS IMPROVEMENT) การเลือกตั้งร้านที่เหมาะสม ตั้งราคาอาหาร เหมาะสม กับกำลังทรัพย์ ของคนชั้นกลาง และครอบครัวและเน้นการฝึก ผู้จัดการที่มี ความสามารถ สิ่งเหล่านี้เป็นรากฐานค้ำจุน MK ให้เติบโตได้อย่างแข็งแรง จวบจนทุกวันนี้








ยุคที่สามของ MK Restaurant








เริ่ม ราวๆปี 2539(ประมาณ 14 ปีที่แล้ว) โดยภัตตาคารเอ็ม เค เริ่มเปิดสาขาแรกที่ห้าง เซ็นทรัล ลาดพร้าว โดยเปลี่ยนหม้อต้ม เป็นหม้อไฟฟ้าซึ่งจะปลอดภัยกว่าระบบใช้แก๊ส ส่วนอาหารและ น้ำจิ้มนั้น คงใช้สูตรดั้งเดิมที่เป็น ที่นิยมอยู่แล้ว แต่ดัดแปลง ให้ถูกโภชนาการมากขึ้น เช่นลดการใช้ผงชูรสลงนำการ บริหารร้านอาหารแบบมืออาชีพ เข้ามาจัดการในงานบริการ และคุณภาพอาหารการตลาด การออกแบบร้าน และ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ภัตตาคารเอ็มเค สามารถขยายสาขาได้อย่างรวดเร็ว โดยเลือก สถานที่ที่สะดวกแก่ลูกค้า ทำให้มี 148 สาขาทั้งในกรุงเทพ และ ต่างจังหวัด ในขณะที่ สุกี้อื่นๆ ในเมืองไทย มีไม่เกิน 10 สาขายุคนี้ถือว่าเป็นยุคที่ทำให้ คนไทยทุกชนชั้น ทุกเพศ ทุกวัย มีโอกาส รับประทานสุกี้ จนเป็นอาหาร ประจำอย่างหนึ่ง ของคนไทย




MK Restaurant ในปัจจุบัน








เรายังพอหาทานสุกี้ยุคแรกได้ที่ร้าน กวนอา ตรงต้น ถนนสาทรเหนือฝั่งพระราม4 ส่วนสุกี้ยุคสองนั้น จะหายากหน่อยเพราะ ร้านส่วนใหญ่กลัวอันตรายจากแก๊ส หันมาใช้เตาไฟฟ้ากันหมด




ต้นกำเนิดของร้านเคเอฟซีเริ่มต้นจาก Colonel Harland D.Sanders







ผู้พันฮาร์แลนด์ ดี แซนเดอร์ส ท่านเป็นผู้คิดค้นสูตรไก่ทอดที่มีรสชาติและชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก อีกทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้ง ร้านเคเอฟซี ท่านเกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2433 ที่เมืองเฮนรี่วิลล์ มลรัฐอินเดียนา ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อนที่ท่านจะเริ่มธุรกิจร้านอาหาร ท่านได้ผ่านงานมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการเดินรถไฟ การเดินเรือกลไฟ นายหน้าขายประกันชีวิต แต่ด้วยความอุตสาหะและความรักในการปรุงอาหาร ท่านได้เปิดร้านอาหารแห่งแรกขึ้นที่ปั๊มน้ำมันแห่งหนึ่งในเมืองคอร์บิน “มลรัฐเคนตั๊กกี้” เพื่อให้บริการแก่ผู้ที่เดินทางผ่านไปมา กิจการร้านอาหารของท่านก็เริ่มมีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ท่านได้ขยายกิจการไปยังโรงแรมที่ตั้งอยู่อีกฟากของถนนโดยเปิดร้านอาหารขนาด 142 ที่นั่ง ผู้พันแซนเดอร์ส รักการทำอาหารและชอบทดลองการปรุงแต่งอาหารด้วยเครื่องเทศแปลกๆ ท่านได้ทดลองผสมเครื่องเทศและสมุนไพร 10 ชนิดกับแป้งสาลี คลุกเคล้ากับไก่แล้วนำไปทอด ในวันหนึ่งขณะที่ท่านกำลังเตรียมไก่ทอดเพื่อจำหน่ายแก่นักท่องเที่ยว ท่านได้ผสมเครื่องเทศตัวที่ 11 ลงไปในส่วนผสมเดิมนั้น และท่านได้กล่าวว่า “ด้วยส่วนผสมทั้ง 11 ชนิดนี้ ผมได้ค้นพบไก่ทอดที่อร่อยที่สุดเท่าที่ผมเคยกินมา” และสูตรไก่ทอดนี่เอง ที่เป็นสูตรลับที่ยังคงใช้มาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2478 แซนเดอร์ส ได้รับการยกย่องจากผู้ว่าการรัฐเคนตั๊กกี้ให้เป็น “Kentucky Colonel” ในฐานะที่ร้านอาหารของท่านเป็นร้านอาหารที่มีชื่อเสียงเป็นที่เชิดหน้าชูตาของรัฐเคนตั๊กกี้ ธุรกิจร้านอาหารของท่านเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างดีจนกระทั่งในปี พ.ศ. 2493 ได้มีการตัดถนนเส้นใหม่ ทำให้ผู้คนใช้เส้นทางเดิมลดน้อยลง คุณลุงจึงตัดสินใจปิดกิจการร้านอาหารของตน ด้วยคุณภาพของไก่ทอดสูตรลับเฉพาะของคุณลุง ในปี พ.ศ. 2495ผู้พันแซนเดอร์สได้เริ่มธุรกิจแฟรนไชส์ด้วยเงินลงทุนเพียง105 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ เดินทางไปพร้อมกับสูตรลับ ขั้นตอนและอุปกรณ์ในการทอดไก่ของท่าน เพื่อขายกรรมวิธีการทอดไก่ด้วยสูตรลับของเครื่องเทศแก่เจ้าของร้านอาหารภัตตาคารทั่วสหรัฐอเมริกา ท่านได้แวะเยี่ยมและถ่ายทอดกรรมวิธีการทอดไก่ตามแบบฉบับของท่าน เมื่อเสร็จแล้วท่านก็จะไปนั่งรับประทานอาหารและต้องปฎิบัติสิ่งหนึ่งที่เรียกว่า “Coloneling” เพื่อให้แน่ใจว่าลูกค้าของท่านประทับใจในรสชาติไก่ทอดและบริการอันดีเลิศ ท่านขายแนวความคิดนี้เพียง 5 เซ็นต์ เป็นค่าลิขสิทธิ์ของไก่ทุกชิ้นที่ขายไป โดยที่สัญญาส่วนใหญ่จะเป็นเพียงการ ตกลงกันโดยการจับมือเท่านั้น ปี พ.ศ. 2507 มีผู้สนใจเข้าร่วมธุรกิจกับผู้พันแซนเดอร์สกว่า 600 คนทั่วสหรัฐ อเมริกา และแคนาดา เมื่อขอบข่ายของธุรกิจได้ขยายตัวออกไปอย่างกว้างขวางเกินความสามารถที่ผู้พันแซนเดอร์สจะรองรับได้ ท่านก็ได้ตัดสินใจขายธุรกิจให้กับกลุ่มนักลงทุนโดยการนำของ John Y. Brown Jr. (จอห์น วาย บราวน์ จูเนียร์) อดีตผู้ว่าการรัฐเคนตั๊กกี้ และ Jack Massy (แจ๊ค แมสซี่) จากเมืองแนชวิลล์ มลรัฐเทนเนสซี โดยที่ผู้พันแซนเดอร์ส ยังคงดำรงตำแหน่งเป็น Kentucky Fried Chicken Goodwill Ambassador เพื่อคอยช่วยเหลือและให้คำแนะนำต่าง ๆ ธุรกิจก็ขยายตัวอย่างรวดเร็วและเริ่มมีชื่อ (Kentucky Fried Chicken Corporation) ในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก ในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2512 โดยมีสาขามากกว่า 3,500 แห่งทั่วโลก ในขณะนั้น 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 บริษัท Heublein Inc. ได้ซื้อกิจการ KFC Corporation ต่อจากนักธุรกิจกลุ่มเดิม ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2523 ผู้พันแซนเดอร์สเสียชีวิต โดยมีอายุรวม 90 ปี ถึงแม้ว่าท่านจะจากเราไปแล้วก็ตาม แต่ไก่ทอดสูตรลับเฉพาะของท่านยังคงสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น และในปีพ.ศ. 2525 บริษัท R.J. Reynolds Industries, Inc. (บริษัท RJR Nabisco, Inc. ในปัจจุบัน) ได้ซื้อกิจการของ Heublein Inc. ทำให้ Kentucky Fried Chicken เป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Heublein Inc. การเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ของ Kentucky Fried Chicken เกิดขึ้นเมื่อ PepsiCo (เป็ปซี่โค) สนใจในธุรกิจร้านอาหารและได้ซื้อลิขสิทธิ์ของเคเอฟซีต่อจาก บริษัท RJR Nabisco, Inc ในเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2529 ต่อมาในเดือนมกราคม ปีพ.ศ. 2540 เป็ปซี่โค (PepsiCo) ได้มีนโยบายในการแยกตัวกลุ่มธุรกิจร้านอาหารซึ่งได้แก่ เคเอฟซี พิซซ่าฮัท และทาโก้เบลล์ ออกเป็นบริษัทใหม่ ภายใต้ชื่อ TRICON Global Restaurants, Inc.(ไทรคอน โกลโบล เรสเทอรองตส์ อิงค์) ซึ่งเป็นบริษัทที่มีจำนวนสาขามากที่สุดกว่า 30,000 แห่งใน 100 ประเทศทั่วโลก ต่อมาในเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2545 บริษัท Tricon Global Restaurants, Inc. ได้ประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท Yum! Brands, Inc. (ยัม! แบรนด์ส อิงค์) หลังจากได้เข้าซื้อกิจการของร้านอาหารลอง จอห์น ซิลเวอร์ และ เอ แอนด์ ดับบลิว ทำให้บริษัทมีแบรนด์อาหารเพิ่มขึ้นเป็น 5 แบรนด์ด้วยกันได้แก่ เคเอฟซี, พิซซ่าฮัท, ทาโก้ เบลล์, ลอง จอห์น ซิลเวอร์ และ เอ แอนด์ ดับบลิว จึงเป็นเหตุผลที่เปลี่ยนชื่อบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับจำนวนเครือข่ายร้านอาหารที่ดำเนินกิจการอยู่ อีกทั้งชื่อ Yum! นี้ยังเป็นชื่อที่ใช้เรียกหุ้นของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก ปัจจุบันเคเอฟซีเป็นธุรกิจร้านอาหารไก่ทอดที่ใหญ่ที่สุดในโลก นำเสนอเมนูรสชาติเยี่ยมทั้งอาหารและเครื่องดื่ม จากจำนวนสาขาที่มีมากกว่า 13,000 แห่ง ใน 80 ประเทศทั่วโลกพร้อม ให้บริการสำหรับมื้ออร่อยของคุณ